หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
งานของเรา
ความหลากหลายทางชีวภาพ
สุราษฎร์ธานีกับการเตรียมพร้อมเมืองและธรรมชาติ ในการตั้งรับปรับตัวต่อผลกระทบจากวิกฤติสภาพภูมิอากาศ
กิจกรรม
...
สุราษฎร์ธานีกับการเตรียมพร้อมเมืองและธรรมชาติ ในการตั้งรับปรับตัวต่อผลกระทบจากวิกฤติสภาพภูมิอากาศ
จังหวัดสุราษฎร์ธานี 1 ใน 2 พื้นที่นำร่องดำเนินการเสริมสร้างความสามารถของเมืองและธรรมชาติ ในการตั้งรับปรับตัวต่อผลกระทบจากวิกฤติสภาพภูมิอากาศ โดยใช้ธรรมชาติเป็นฐาน (Nature-based Solutions_NbS) เพื่อปกป้อง จัดการและฟื้นฟูธรรมชาติอย่างยั่งยืนและปรับเปลี่ยนระบบนิเวศในรูปแบบที่สามารถจัดการกับความท้าทายทางสังคมได้อย่างมีประสิทธิภาพและยืดหยุ่น เพื่อการสร้างความเป็นอยู่ที่ดีและเกิดผลประโยชน์ต่อความหลากหลายทางชีวภาพ
30 ตุลาคม สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย (TEI) องค์การระหว่างประเทศเพื่อการอนุรักษ์ธรรมชาติ (IUCN) และกรมทรัพยากรน้ำ ได้สำรวจพื้นที่ตำบลคลองฉนากและตำบลขุนทะเล อำเภอเมือง ร่วมกับผู้เชี่ยวชาญและผู้นำชุมชนในพื้นที่ แลกเปลี่ยนข้อมูล สะท้อนปัญหา และแนวทางขับเคลื่อนการเสริมสร้างความสามารถของเมืองและธรรมชาติ ประกอบการวางแผนดำเนินงานให้เกิดการตั้งรับปรับตัวต่อผลกระทบจากวิกฤติสภาพภูมิอากาศ โดยใช้ธรรมชาติเป็นฐานที่เหมาะสมกับพื้นที่
นอกจากนั้นวันที่ 31 ตุลาคม TEI โดยคุณพวงผกา ขาวกระโทก ผู้จัดการโครงการ ร่วมกับ IUCN และหน่วยงานภาคี จัดประชุมเชิงปฎิบัติการคณะกรรมการที่ปรึกษาระดับจังหวัดสุราษฎร์ธานี โดยได้รับเกียรติจากนายมนตรา พรมสินธุ รองผู้ว่าราชการจังหวัดสุราษฎร์ธานี กล่าวเปิดการประชุม และนายณัฐพร รักบำรุง รักษาราชการแทนผู้อำนวยการ ทสจ.สุราษฎร์ธานี กล่าวรายงานและทำหน้าที่ประธานในการประชุม พร้อมด้วยผู้แทนจากหน่วยงานภาครัฐ สถาบันการศึกษา ภาคประชาสังคม และเครือข่าย ทสม. อสทล. และชุมชนในพื้นที่ร่วมประชุมและแลกเปลี่ยนภาพรวมโครงการ ตัวชี้วัด ผลลัพธ์ผลผลิต และร่วมทบทวนแผนงาน ความเป็นไปได้ของการดำเนินในพื้นที่ให้เกิดการพัฒนาที่ช่วยปกป้อง จัดการและฟื้นฟูธรรมชาติ และรักษาสมดุลของเมืองและธรรมชาติ
พร้อมนี้ IUCN ได้นำเสนอตัวอย่างพื้นที่ที่มีความเป็นไปได้ในการประยุกต์ใช้มาตรการ NbS มาสาธิตการพัฒนาพื้นที่โดยใช้ธรรมชาติเป็นฐาน ประกอบด้วย พื้นที่เรือนจำเก่าเตรียมปรับเป็นพื้นที่สีเขียวหรือสวนสาธารณะในเมือง พื้นที่บางใบไม้ พื้นที่ที่ชุมชนพึ่งพาอาศัยระบบนิเวศและส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงนิเวศสำคัญ และพื้นที่ป่าชายเลนตำบลคลองฉนาก พื้นที่เสื่อมโทรมที่เกิดจากการถูกบุกรุกแผ้วถางมากกว่า 100 ไร่ และพื้นที่ป่าพรุในเมือง มากกว่า 70 ไร่ หนึ่งในพื้นที่ชุ่มน้ำที่มีความหลากหลายทางชีวภาพในเขตมหาวิทยาลัยราชภัฎสุราษฎร์ธานี โดยทั้งสี่พื้นที่สามารถนำมาตรการ NbS ทั้งมาตรการการออกแบบสวนสาธารณะฯ มาตรการการรักษาพืชริมน้ำฯ มาตรการฟื้นฟูระบบนิเวศป่าชายเลน และมาตรการการฟื้นฟูภูมิทัศน์ป่าไม้ฯ มาปรับใช้
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
การปรับตัวของเมือง
ชุมชนน่าอยู่
ทรัพยากรธรรมชาติ
ม.ส.ท.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
สิ่งแวดล้อม
เมืองน่าอยู่
Share: