หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
งานของเรา
การปรับตัว
ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ครั้งที่ 1
กิจกรรม
...
ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ครั้งที่ 1
17-20 กรกฎาคม 2566 ภายใต้โครงการ SUCCESS สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ครั้งที่ 1 นำโดย ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา ร่วมกับศูนย์ประชาสังคมและการจัดการองค์เอกชนสาธารณประโยชน์ (CSNM) คณะมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น) ลงพื้นที่ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) ครั้งที่ 1 สรุปประเด็นสาระสำคัญได้ดังนี้
จังหวัดหนองคาย (เมืองสระใครและเมืองหนองคาย) ค่อนข้างทำกิจกรรมล่าช้ากว่าแผนงาน เนื่องจากการเสียชีวิตของหัวหน้าคณะทำงานหลักของเมือง จึงต้องทำการพูดคุยทำความเข้าใจโครงการฯ ใหม่ พร้อมทั้งหาแนวทางจัดตั้งคณะทำงานใหม่ในพื้นที่เมืองหนองคาย ต้องมีการปรับแผนการทำงานหลักๆ โดยทั้ง 2 พื้นที่ ต้องทำการสร้างเครือข่ายในพื้นที่ให้ครอบคลุมทั้งภาคประชาสังคม ชาวบ้าน เอกชน และภาครัฐ เพื่อสร้างการมีส่วนร่วมที่เป็นเจ้าของปัญหาและแนวทางในการแก้ไขร่วมกันตั้งแต่ต้น อีกทั้งยังมีการจัดทำข้อมูลฐานชุมชน เพื่อใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์ปัญหาที่แท้จริงของชุมชน ความสัมพันธ์ ต้นทุนต่างๆ ที่มีในพื้นที่ แผนที่เสี่ยง และเชื่อมร้อยเครือข่ายในการทำงานผ่านการเห็นข้อมูลร่วมกัน
จังหวัดอุดรธานี (เมืองหนองสำโรงและเมืองสาวพร้าว) ทำกิจกรรมเป็นไปตามแผนงาน กำลังขยับในเรื่องการเก็บข้อมูลและทำแผนที่เดินดินในชุมชน เริ่มมีการเชื่อมร้อยเครือข่ายในพื้นที่ แต่ยังเน้นที่ อปท.เป็นหลัก ประเด็นปัญหาเรื่องน้ำเริ่มมองภาพอนาคตในการเปลี่ยนแปลงมากขึ้น ว่าการแก้ปัญหาแบบเฉพาะหน้าเชิงโครงสร้างต่างๆ ไม่เพียงพอต่อการรับมือความเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้นแล้ว จึงอยากลองใช้แนวทางและทฤษฎี nature base solution มาช่วยในการแก้ปัญหา ผ่านเครื่องมือที่ชื่อว่า แผนผังภูมินิเวศ ให้ชุมชนได้เห้นปัญหาร่วมกัน
จังหวัดขอนแก่น (เมืองขอนแก่นและเมืองบ้านไผ่) กิจกรรมเป็นไปตามแผนงาน โดยเน้นสร้างความเข้มแข็งของคนในชุมชน เสริมสร้างศักยภาพคณะทำงานที่เป็นฐานชาวบ้านอย่างแท้จริง เนื่องจากทั้ง 2 พื้นที่ อยู่ในที่ดินการรถไฟและต้อมทำการย้ายออกเป็นที่แน่นอน การสร้างการยอมรับต่อภาครัฐ การมีอำนาจต่อรอง ออกแบบที่อยู่ในพื้นที่ใหม่ได้ จึงเป็นประเด็นสำคัญที่ทางโครงการฯ ต้องการผลักดัน เพราะในพื้นที่เดิมชาวบ้านไร้ซึ่งสิทธิและการออกแบบวิถีของชุมชน ดังนั้นเมื่อต้องย้ายไปยังพื้นที่ใหม่จึงต้องการได้สิทธิและการยอมรับในการวางแผนจัดการพื้นที่ของตนได้อย่างมีประสิทธิภาพ ไม่เหลื่อมล้ำ และมีความชัดเจนในการจัดการช่วยเหลือจากภาครัฐ
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
การปรับตัว
การปรับตัวของเมือง
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ม.ส.ท.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
สิ่งแวดล้อม
Share: