หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
งานของเรา
การปรับตัว
ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคใต้) ครั้งที่ 1
กิจกรรม
...
ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคใต้) ครั้งที่ 1
9-14 กรกฏาคม 2566 ภายใต้โครงการ SUCCESS สนับสนุนโดยสหภาพยุโรป ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคใต้) ครั้งที่ 1 นำโดย ดร.ผกามาศ ถิ่นพังงา ร่วมกับมูลนิธิชุมชนสงขลา (SCF) ลงพื้นที่ติดตามประเมินผลความก้าวหน้าและหนุนเสริมโครงการนำร่อง (พื้นที่ภาคใต้) ครั้งที่ 1 สรุปประเด็นสาระสำคัญได้ดังนี้
จังหวัดสงขลา (เมืองปาดังเบซาร์+เมืองบ่อยาง+เมืองควนลัง+เมืองพะตง) ทำกิจกรรมได้ตามแผนงานโครงการฯ ต้องเพิ่มเติมในส่วนของการเก็บข้อมูลชุมชนให้ละเอียดมากขึ้น ทั้งจากแบบสอบถาม การทำกระบวนการกลุ่ม และแผนที่เดินดิน เพื่อนำข้อมูลมาวิเคราะห์และทำแผนชุมชนจากการได้มาซึ่งข้อมูลพื้นฐานชุมชน ก่อนนำมาคืนข้อมูลและหาแนวทางในการทำแผนชุมชน กติการ่วม หรือธรรมนูญชุมชน ต่อยอดไปสู่การจัดตั้งองคืกรชุมชน เพื่อทำงานอย่างต่อเนื่อง
จังหวัดพัทลุง (เมืองโตนดด้วน) ทำกิจกรรมเป็นไปตามแผนงาน มีการเชื่อมร้อยประสานภาคีเครือข่ายในระดับเมือง ผ่านการทำงานร่วมกับ อบจ. ผ่านกลไกการทำฝายมีชีวิต เพื่อใช้ชะลอน้ำท่วมและกักเก็บน้ำในช่วงน้ำแล้ง อาจต้องเพิ่มเติมประเด็นในส่วนผู้ได้รับประโยชน์จากฝายทั้ง 3 แห่ง ว่าใครคือผู้ได้รับประโยชน์อย่างแท้จริงและเป็นรูปธรรม เพื่อนำมาเป็นตัวชี้วัดต่อยอดไปสู่การทำงานในระดับตำบล อำเภอ และจังหวัดได้
จังหวัดสตูล (เมืองละงู) กิจกรรมเป็นไปตามแผนงาน แต่ติดปัญหาในพื้นที่ต้นน้ำเรื่องความร่วมมือ เพราะเขาไม่เข้าใจว่าเรามาทำอะไร และจะได้ประโยชน์อย่างไร แต่เมื่อคณะทำงานได้ลงพื้นที่จัดประชุมและชี้แจ้งในพื้นที่ ได้รับความร่วมมือและตอบรับมากขึ้น ในการฟื้นฟูลุ่มน้ำคลองละงุ ต้องทำงานในภาพใหญ่ระดับจังหวัด จึงเน้นการทำงานสร้างภาคีเครือข่ายพร้อมทั้งรื้อฟื้นข้อมูลลุ่มน้ำจากอดีตสู่ปัจจุบันให้เห้นความเปลี่ยนแปลงและมองภาพผลกระทบในอนาคตร่วมกัน ทั้งนี้จะมีการเชิญชุมชนลุ่มน้ำคลองดุสน ที่ทำงานด้านลุ่มน้ำมานานมาช่วยแลกเปลี่ยนและให้คำแนะนำในการทำงาน เพื่อให้ได้มาซึ่งองค์กรชุมชน และธรรมนูญสายน้ำ
โดยสรุปแนวทางหลัก ๆ ของการดำเนินโครงการฯ ของทั้ง 3 จังหวัด ยังเน้นที่การสร้างเครือข่ายภาคี รื้อฟื้นทำความเข้าใจร่วมกัน การเก็บข้อมูลพื้นฐานชุมชนผ่านเครื่องมือศึกษาชุมชนทั้ง 7 ชิ้น ร่วมทั้งวางโครงสร้างต่างๆ ในการขยับตัวก่อตั้งเป็นองค์กรชุมชนสร้างความยั่งยืนในการดำเนินงานให้ต่อเนื่อง ทั้งนี้ในขั้นตอนต่อไปทั้ง 3 จังหวัด เห็นร่วมกันว่าต้องการใช้เครื่องมือ แผนผังภูมินิเวศ โดยทางทีมได้ประสาน ดร.จำเนียร วรรัตน์ชัยพันธ์ มาเป็นวิทยากรให้ความรู้ถึงหลักการ แนวทางการนำแผนผังภูมินิเวศไปใช้ในการวางแผน และทำแผนผังภูมินิเวศ ในวันที่ 16 สิงหาคม 2566 ที่จังหวัดสงขลา ต่อไป
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
การปรับตัว
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
Share: