หน้าหลัก
รู้จัก ม.ส.ท.
ภาพรวม ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
รู้จัก ม.ส.ท.
วิสัยทัศน์ | พันธกิจ
โครงสร้างองค์กร
คณะกรรมการมูลนิธิ
คณะกรรมการบริหารสถาบัน
คณะผู้บริหาร
เจ้าหน้าที่
วิถีเรา
สโลแกน
รายงานประจำปี | รายงานงบการเงิน
สำนักงานสีเขียว
รางวัลและเกียรติประวัติ
กองทุน
กองทุน ดร.ธีระ พันธุมวนิช
กองทุนสุขภาพกับสภาวะโลกร้อน
งานของเรา
กลุ่มงานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
งานของเรา
สิ่งแวดล้อมอุตสาหกรรม
อุตสาหกรรมยั่งยืน
มลพิษอุตสาหกรรม
สิ่งแวดล้อมเมืองและชุมชน
ชุมชนและเมืองน่าอยู่
ขยะชุมชน-ขยะอาหาร
ขยะพลาสติก
ฝุ่น PM2.5
การผลิตและการบริโภคยั่งยืน
ฉลากเขียว
ฉลากสิ่งแวดล้อม
บริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ที่ปรึกษาคาร์บอนฟุตพริ้นท์
จัดซื้อจัดจ้างที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
ทรัพยากรธรรมชาติ
ทรัพยากรทางบก
ทรัพยากรทางทะเลและชายฝั่ง
ความหลากหลายทางชีวภาพ
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
การลดก๊าซเรือนกระจก
การปรับตัว
การพัฒนาบุคลากรด้านสิ่งแวดล้อม
งานฝึกอบรม
สิ่งแวดล้อมศึกษา
นโยบาย แผน เครือข่ายสิ่งแวดล้อม
นโยบายและแผนสิ่งแวดล้อม
TBCSD
คลังความรู้
แหล่งรวมความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
คลังความรู้
บทความ
อินโฟกราฟิก | โปสเตอร์
คลิปวิดีโอ
เอกสารเผยแพร่
สิ่งพิมพ์จำหน่าย
กิจกรรมข่าวสาร
ข่าวสารความเคลื่อนไหว
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
ข่าวสิ่งแวดล้อม
ร่วมงานกับเรา
ร่วมเป็นส่วนหนึ่งกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ร่วมงานกับเรา
งาน
ฝึกงาน
ติดต่อเรา
กิจกรรมข่าวสาร
กิจกรรมของเรา
...
16 ชุมชนลดเปลี่ยนโลก ปีที่ 2 พร้อมมุ่งสู่ความเป็นกลางทางคาร์บอนอย่างยั่งยืน
12-13 กันยายน 2567 - เข้าสู่วันที่ 2 และ 3 ของการอบรมพัฒนาศักยภาพของโครงการชุมชนลดเปลี่ยนโลก ปีที่ 2 ในโครงการลดเปลี่ยนโลกกับโตโยต้า ภายใต้โครงการโตโยต้าเมืองสีเขียว ด้วยความร่วมมือระหว่างบริษัท โตโยต้า มอเตอร์ ประเทศไทย จำกัด และสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย โดยชุมชนทั้ง 16 แห่ง ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้และประสบการณ์ในด้านต่าง ๆ อย่างเข้มข้นจากนักวิชาการด้านสิ่งแวดล้อมและผู้เชี่ยวชาญ ไม่ว่าจะเป็นการจัดการสิ่งแวดล้อมเมือง ความสำคัญของชุมชนและองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นในการลดภาวะโลกเดือด
รู้จักและเข้าใจแนวทางการสร้างความเป็นกลางทางคาร์บอน ด้วยการลดการปล่อยก๊าซเรือนกระจกจากภาคพลังงาน ภาคการเกษตรด้วยการลดเผา ลดใช้สารเคมี และการปล่อยของเสีย (ขยะและน้ำเสีย) ให้รู้จักปรับเปลี่ยนวิถีการดำเนินชีวิต และการพัฒนาผลิตภัณฑ์และบริการที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม รวมถึงเรียนรู้การชดเชยคาร์บอนด้วยคาร์บอนเครดิต พร้อมกันนี้เพื่อให้ 16 ชุมชนที่เข้าอบรมเชิงปฏิบัติการแกนนำโครงการฯ ได้พัฒนาโครงการให้มีประสิทธิภาพในการอบรมได้มีกิจกรรม Work shop ให้ความรู้การเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ประเมินผลชุมชนลดเปลี่ยนโลก จากนักวิชาการสถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และการวางแผนและนำเสนองานอย่างไรให้น่าสนใจ
ทั้งนี้ สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย และโตโยต้า ได้เชิญ 2 ชุมชนต้นแบบ ที่เคยร่วมโครงการและประสบความสำเร็จอย่างเทศบาลตำบลควนโดน จ.สตูล และชุมชนบ้านรางพลับ จ.ราชบุรี มาแชร์เทคนิคพร้อมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ปัจจัยสู่ความสำเร็จชุมชนลดเปลี่ยนโลก พร้อมได้รับเกียรติจาก คุณอัชฌาชาติ อุทิศชลานนท์ รองผู้อำนวยการโครงการ ฝ่ายส่งเสริมความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม ผู้บริหารจากบริษัทโตโยต้า ในการมอบใบประกาศนียบัตรให้กับแกนนำผู้เข้าอบรม
หลังจากนี้ ชุมชนและองค์การปกครองส่วนท้องถิ่นทั้ง 16 แห่งนี้ จะต้องไปดำเนินการปรับแผนโครงการชุมชนลดเปลี่ยนโลกและมานำเสนอต่อคณะกรรมการอีกครั้งในรอบ Pitching สิ้นเดือนกันยายนนี้ เพื่อคัดเลือกให้เหลือ 8 ทีมสุดท้ายก่อนจะได้ผู้ชนะเลิศของโครงการชุมชนลดเปลี่ยนโลก ปีที่ 2 และได้ไปศึกษาดูงานที่ประเทศญี่ปุ่น
Share:
แชร์
Tweet
Tags:
การปรับตัว
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ก๊าซเรือนกระจก
ชุมชนน่าอยู่
ม.ส.ท.
สถาบันสิ่งแวดล้อมไทย
สิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
เมืองน่าอยู่
Share: